วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การแสดงผลและการรับค่า

แสดงผลออกทางหน้าจอ

การทำงานพื้นฐานที่สุดหรือเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานของทุกโปรแกรมก็คือการแสดงผลข้อมูลออกทางหน้าจอ โดยในภาษา C นั้น การแสดงผลข้อมูลออกทางหน้าจอสามารถทำได้ง่าย โดยเรียกใช้คำสั่งหรือฟังก์ชั่นมาตรฐานที่ภาษา C เตรียมไว้ซึ่งมีอยู่หลายคำสั่ง

ฟังก์ชัน printf()
เป็นฟังก์ชันจากคลัง ที่มาพร้อมกับตัวแปลภาษาซี ใช้สำหรับการแสดงผล มีรูปแบบ ดังนี้ 

รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ

ตัวอย่างการใช้ คำสั่ง printf  แสดงข้อความธรรมดาออกทางหน้าจอ

ตัวอย่างการใช้ คำสั่ง  printf  แสดงผลจากค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ

ลำดับหลีก (escape sequence)

แสดงผลให้เป็นระเบียบด้วยอักขระควบคุมการแสดงผล
การนำอักขระควบคุมการแสดงผลมาใช้เราต้องเขียนอักขระควบคุมการแสดงผลไว้ภายในเครื่องหมาย “” ดังตัวอย่างเช่น

การควบคุมขนาดพื้นที่แสดงผล
วิธีกำหนดขนาดพื้นที่การแสดงผล ให้ใส่ตัวเลขขนาดของพื้นที่ที่ต้องการไว้หลังเครื่องหมาย % ในรหัสควบคุมรูปแบบ  ตัวอย่างเช่น

ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนจากการแสดงผลชิดขอบด้านขวาให้ชิดขอบด้านซ้ายแทน สามารถทำได้โดยใส่เครื่องหมาย ไว้หน้าตัวเลขระบุขนาดพื้นที่ ตัวอย่างเช่น


การแสดงผลตัวเลขทศนิยม ตามปกติถ้าไม่กำหนดค่าใดๆ เพิ่มเติม เมื่อใช้รหัสควบคุมรูปแบบ %โปรแกรมจะแสดงตัวเลขทศนิยมทั้งหมด 6 ตำแหน่ง ตัวอย่างเช่น

ในกรณีที่เราต้องการตัดให้แสดงตัวเลขหลังจุดทศนิยมเท่าที่จำเป็น ก็สามารถกำหนดค่าเพิ่มไปกับรหัสควบคุมรูปแบบได้

รับข้อมูลจากคีย์บอร์ด

การทำงานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป็นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้แบบ 2 ทิศทาง คือ ทั้งภาคของการแสดงผลการทำงานออกทางหน้าจอ และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด เพื่อร่วมในการประมวลผลของโปรแกรม ซึ่งในภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้ ภาษา C  กำหนดคำสั่งและฟังก์ชั่นมาตรฐานเอาไว้ให้เรียกใช้

ฟังก์ชัน scanf()
เป็นฟังก์ชันจากคลัง ใช้ในการรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ โดยจะบอกเลขที่อยู่ของตัวแปรในหน่วยความจำ แล้วจึงนำค่าที่รับมาไปเก็บไว้ตามที่อยู่นั้น มีรูปแบบ









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น